6 สัญญาณอันตรายที่คุณต้องซ่อมท่อประปา

6 สัญญาณอันตรายที่คุณต้องซ่อมท่อประปา

วันนี้ แม้ว่าคุณจะไม่ใช่ ช่างประปา แต่เราก็ขอนำเอา 6 สัญญาณอันตรายที่คุณต้องซ่อมท่อประปา ในบ้านมาให้สำรวจหาการรั่วของน้ำ ซ่อมจุดรั่ว ก่อนที่จะกลายเป็นปัญหาใหญ่และเสียค่าใช้จ่ายเยอะมากขึ้น

กิจกรรมต่างๆ ภายในห้องน้ำของคุณมีมากมาย นับตั้งแต่การกดชักโครก ไปจนถึง น้ำเต็มซิงค์ การอาบน้ำเป็นเวลานานๆไปจนถึงการใช้น้ำร้อน น้ำอุ่น ท่อประปาเองก็จำเป็นต้องมีการดูแลที่ดีหน่อย เนื่องจากอยู่ภายใต้ปัจจัยความดันในท่อที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

ซ่อมท่อมแตก รั่ว ซึม โดยช่างประปาฝีมือ
ช่างประปา

ในขณะที่การดูแลซ่อมแซมตามปกติเป็นประจำ ก็จะเป็นอีกวิธีหนึ่ง ที่จะช่วยยืดอายุการใช้งานของท่อประปาให้ยาวนานมากขึ้น จึงได้นำเอา สัญญาณอันตราย จากท่อประปารั่วซึม และปัญหาที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ที่สามารถสังเกตได้ง่ายๆ 6 อย่าง มาเสนอ เผื่อว่าบางทีอาจจะมี อะไรต้องทำมากกว่าการที่ปล่อยให้มันทำหน้าที่ส่งน้ำธรรมดาๆ เหมือนปกติ

ช่างซ่อมประปาจำเป็น ต้องสังเกตอะไรบ้าง

ป๊อกๆๆๆ นี่ท่อประปาเองจ้า

หากกำลังอาบน้ำเพลินๆ อยู่ แต่ได้ยินเสียงดังป๊อกๆ หรือ ตอนเปิดน้ำในซิงค์ หรือ การเปิดน้ำจากก๊อกน้ำ ก็ตาม นั่นคือ สัญญาณบอกว่า คุณเกิดปัญหาขึ้นแล้ว แต่จะเกิดจากอะไร ก็ค่อยดูกันเป็นอย่างๆ ไป เช่น เกิดจากวาล์วน้ำปิดไม่แน่น ความดันน้ำเปลี่ยนไป เป็นต้น ซึ่งเป็นเหตุจากระบบซับพอร์ตของท่อไม่ดี และ ความดันน้ำสูงมาก (คือหากมากกว่า 60 PSI สำหรับระบบภายในบ้าน) ถือเป็นข้อเสียแน่นอน เพราะจะทำให้เกิดการกระตุกหรือทำให้ท่อเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าปล่อยไว้ไม่บำรุงรักษา ก็อาจะเป็นเหตุให้สปริงของปั๊มน้ำเกิดการรั่วซึมของน้ำ หรือ ท่อประปาเกิดการบิดงอหากทอเกิดหลุดออกมา

จงสังเกตเมื่อความดันของน้ำต่ำลง

เมื่อเปิดก็อกน้ำ หรือ ฝักบัวอย่างเต็มที่แล้วน้ำควรจะพุ่งออกมา อย่างสม่ำเสมอ ตรงกันข้ามถ้า น้ำไหลไม่สม่ำเสมอ หรือ หยดช้าๆ หรือ น้ำไม่ออก ไม่ไหลเสียเลย แสดงว่า เกิดปัญหาแล้ว 

เรามาลองทดสอบกันหน่อยก็แล้วกัน กล่าวคือ ให้นำเอาถุงพลาสติกที่ใส่น้ำส้มสายชูจนเต็ม แล้วน้ำไปมัดที่หัวฝักบัว หรือ ที่ก็อกน้ำ ก็ได้ ทิ้งไว้สักสองสามชั่วโมง แค่นี้ก็แก้ปัญหาได้แล้ว แต่หากไม่สามารถลดความดันของน้ำได้ ก็คงจำเป็นต้องโทรหา ช่างซ่อมประปา มืออาชีพมาจัดการให้เสียแล้ว เพราะมันปัญหาแล้วกับในตัวแป๊บเอง แล้วระบบของเครื่องทำความร้อนหรือฮีตเตอร์ หรือไม่ก็อาจจะเป็นเพราะมีรอยรั่วอยู่อีกด้านหนึ่งของกำแพงแน่ๆ

มีน้ำหยดอยู่ตลอดเวลา

ถ้าซิงค์ ฝักบัว มีน้ำหยดอยู่ตลอดเวลา แม้ว่าจะหยดติ๋งๆ ช้าก็ตาม ก็ถือว่ามีเรื่องต้องทำแล้ว มีความเป็นไปได้ว่า ความดันในท่อน้ำสูงเกินไป หรือไม่ก็สาเหตุจากปิดไม่แน่นพอ หรือไม่ ก็เป็นไปได้ว่า วาล์ว ควบคุมน้ำอาจจะเสียหายก็ได้ ถึงจะน้ำหยดแบบนี้ จะเป็นแค่เรื่องเล็กน้อย แต่ว่าไม่ได้แค่เป็นเรื่องรบกวนใจแต่อาจจะเป็นการทำให้ปั้มน้ำเสียหายหยุดทำงานไปเลยก็ได้

การระบายของน้ำช้าลง

แทบทุกบ้านมักเจอปัญหาการไหลช้า หรือ การระบายน้ำในท่อน้ำทิ้งหรือซิงค์ช้าลง และบ่อยครั้ง ที่เรามักจะทำกันก็คือ เอาน้ำร้อนมาเทใส่ หรือไม่ก็ น้ำสารเคมีต่างๆ มาผสมน้ำเทลงไป อย่างไรก็ตาม หากวิธีดังกล่าวมานี้ ไม่สามารถแก้ไขได้ ก็มีความเป็นไปได้ว่า อาจจะเป็นเพราะตัวปั๊มน้ำเองที่เป็นปัญหา ซึ่งอาจจะเป็นสาเหตุจาก ท่อน้ำแตก หรือ มีอะไรสักอย่างค้างอยู่ ที่ไม่ได้ถูกชะล้างไปทั้งหมด ซึ่งจะส่งผลต่อคุณภาพของน้ำที่ใช้ ทำให้มีความเสี่ยงเกิดขึ้น นั่นคือ ท่อน้ำที่แตกทำให้เกิดเชื้อราขึ้นตามกำแพงหรือผนังได้

น้ำจากฝักบัวไม่ร้อนอย่างที่เคยเป็น

ปกติแล้ว เครื่องทำน้ำอุ่นมีความสามารถที่จำกัดเหมือกัน ถ้าคุณเปิดน้ำมากๆ อย่างรวดเร็ว ก็จะต้องรอเพื่อให้มีความร้อนในการต้มน้ำก่อน แต่หากว่า แค่เริ่มเปิดน้ำฝักบัวแต่น้ำอุ่นมีแค่ระยะหนึ่งแล้วกลายเป็นน้ำเย็นปกติ นั่นแสดงว่ามีปัญหาบางอย่างเกิดขึ้นแล้ว มีความเป็นไปได้ว่า เกิดขึ้นจากเครื่องทำน้ำอุ่น มีรอยรั่ว หรือไม่ก็มันไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิได้อีกแล้ว ถ้าเป็นแบบนี้ อย่ารอช้าเลย ให้เรียกหาช่างประปา มาได้เลย

น้ำประปามีสีแปลกไป

ปกติแล้วน้ำประปาจะต้องใส แต่หากมีสีแปลกไป ก็สัญญาณว่าต้องซ่อมอะไรสักอย่างแล้ว ถ้าน้ำมีสีขาวหรือขุ่นๆ แสดงว่ามีลมในท่อ ถ้าน้ำมีสีน้ำตาล สีแดง หรือ สีเหลือง แสดงว่าเป็นสนิม ซึ่งมักมีสาเหตุมาจาก ท่อประปาหลักแตก รั่ว เสียหาย ในบริเวณแถบที่คุณอยู่ หรือไม่ก็ ท่อนั้นเก่ามาก หากน้ำมีสีเขียวหมายถึง ปั๊มที่เป็นทองแดงเกิดการกัดกร่อน และหากมีสีน้ำเงินก็แสดงว่าเกิดการกัดกร่อนแทบจะทั้งหมดแล้ว  ถ้าเป็นอย่างนี้ ให้รีบเรียกหาช่างประปาทันที ไม่ต้องรอช้า

จะศึกษาได้จาก 6 สัญญาณอันตรายที่คุณต้องซ่อมท่อประปา นี้ทำให้เราได้รู้ว่า ต้นเหตุของมันจะเกิดจากอะไร และหากสิ่งไหนที่แก้ไขได้ก็ทำ แต่หากเกินความสามารถและไม่มีเวลาพอ ก็เรียกหา ช่างประปา ที่ไว้ใจได้ ทั้งด้านฝีมือและ พฤติกรรม เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้หมดไป จะได้ใช้น้ำได้อย่างสบายใจ

0 Response to "6 สัญญาณอันตรายที่คุณต้องซ่อมท่อประปา"

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น

wdcfawqafwef